วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

วิทยานิพนธ์ นายธีระพงษ์ ประสากุล

รัตนาวรรณ เวศนานนท์.ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,มิถุนายน 2552,บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปกับความพึงพอใจในงาน ประสิทธิภาพการท างาน และการไม่ลาออกจากงาน
ของพนักงานสาขาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ ากัด (มหาชน) (51หน้า)
อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.วันชัย อริยะพุทธิพงศ์


บทคัดย่อ
ความเป็นมาของการวิจัยงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้น าเชิงปฏิรูป โดยใช้
แนวความคิดในทฤษฎีภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของ Bass และ Avolio (1991) ในที่นี้ภาวะผู้น าเชิง
ปฏิรูปก็หมายถึง ภาวะผู้น าของผู้จัดการสาขา ผู้จัดการสาขามีความส าคัญเป็นอย่างยิ่งต่อองค์การใน
การบริหารงานของแต่ละสาขา เมื่อมีผู้น าที่ดีย่อมก่อให้เกิด การท างานที่ดีของพนักงานสาขาท าให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีสมมติฐานว่า ภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปมีความสัมพันธ์ต่อความพึง
พอใจในงานของพนักงานสาขา ภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปมีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการท างานของ
พนักงานสาขา ภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปมีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจไม่ลาออกจากงานของพนักงาน
สาขา
ระเบียบวิธีการวิจัย พนักงานสาขาในเขตภาคนครหลวง 5 มีจ านวน 34 สาขา มีพนักงานประจ าเขต
ภาคนครหลวง 5 ทั้งหมด 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามความ
คิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้น าเชิงปฏิรูป ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในงาน ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ประสิทธิภาพการท างาน และในส่วนสุดท้ายการไม่ลาออกจากงาน โดยใช้แบบสอบถามจ านวน
180 ชุด โดยใช้เครื่องมือที่ช่วยในการท าวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS Version 10.0 และใช้วิธีทางสถิติ
ในการประมวลผลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ใช้สถิติทดสอบด้วย Regression และ Factor Analysis
และ Cronbach Alpha เพื่อวัดความเที่ยงตรงของเครื่องมือ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่ม
ตัวอย่างก็คือพนักงานธนาคารกรุงศรี มีสัดส่วนผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย มีอายุในวัยรุ่นกลางคนมากกว่า
อายุในระดับอื่น มีรายได้อยู่ที่ระดับปานกลาง พนักงานสาขาส่วนใหญ่การศึกษาอยู่ที่ระดับปริญญา
ตรี ต าแหน่งงานจะอยู่ที่ระดับเจ้าหน้าที่ 1และมีประสบการณ์การณ์ท างานอยู่ในช่วง 1-5 ปีเสียเป็น
ส่วนใหญ่
ผลการวิจัยจากสมมติฐานภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปของผู้จัดการสาขา พบว่าภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปมี
ความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจในการปฏิบัตงานของพนักงานสาขา และภาวะผู้น าเชิงปฏิรูปมี
ความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการท างานของพนักงานสาขา และสมมติฐานสุดท้ายพบว่าภาวะผู้น า
เชิงปฏิรูปมีความสัมพันธ์ในการตัดสินใจไม่ลาออกของพนักงานสาขา ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์สถิติ
ทดสอบสมมติฐานนี้ด้วยวิธี Regression
ข้อเสนอแนะผู้น าและพนักงานควรเปิดโอกาสได้มีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันเนื่องจาก
เป็นการแลกเปลี่ยนทางความคิด และเพื่อทุกคนในหน่วยงานจะได้เป็นน้ าหนึ่งใจเดียวกันของ
องค์การ ข้อจ ากัดของการวิจัย ผู้วิจัยมีเวลาอย่างจ ากัด ท าให้ไม่ได้เก็บรายละเอียดจากแบบสอบถาม
พนักงานทุกคนในองค์การ ท าให้ข้อมูลที่ได้อาจไม่เพียงพอต่อการน าไปใช้ของการวางแผนของฝ่าย
ทรัพยากรบุคคล ดังนั้น ควรมีการวิจัยในพนักงานทุกคนในองค์การของธนาคารกรุงศรีอยุธยาใน
ครั้งต่อไป เพื่อให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็นและน ามาปรับปรุงให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อองค์การ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น